Universitas Muhammadiyah Yogyakarta (UMY)

MJU-ASEAN Bridge ณ ประเทศอินโดนิเชีย ระหว่างวันที่ 1-6 มิถุนายน 2556 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของคณะเดินทาง 1.1 ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) จาตุพงศ์ วาฤทธิ์...
6 downloads 2 Views 13MB Size
MJU-ASEAN Bridge ณ ประเทศอินโดนิเชีย ระหว่างวันที่ 1-6 มิถุนายน 2556 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของคณะเดินทาง 1.1 ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) จาตุพงศ์ วาฤทธิ์ (ภาษาอังกฤษ) Jatuphong Varith สังกัดคณะ วิศวกรรมและอุตสาหกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตําแหน่ง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ตําแหน่งบริหาร คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โทรศัพท์. 053 87 8116 โทรสาร 053 87 8122 e-mail [email protected] ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) ไพศาล กาญจนวงศ์ (ภาษาอังกฤษ) Paisarn Kanchanawong สังกัดคณะ พัฒนาการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตําแหน่ง อาจารย์ ตําแหน่งบริหาร รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยฝ่ายบริหารและยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โทรศัพท์ 053 87 3296 โทรสาร 053 87 3261 e-mail [email protected] ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) บัญญัติ มนเทียรอาสน์ (ภาษาอังกฤษ) Banyat Montein-art สังกัดคณะ คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตําแหน่ง ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ตําแหน่งบริหาร โทรศัพท์ 053-873470-2 ต่อ 120 โทรสาร 053 498 178 e-mail [email protected] ชื่อ – นามสกุล (ภาษาไทย) ปรีดา นาเทเวศน์ (ภาษาอังกฤษ) Waraporn Ngamsoomsuke สังกัดคณะ ผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ตําแหน่ง อาจารย์ ตําแหน่งบริหาร โทรศัพท์ 053-873-380 โทรสาร 053 498 157 e-mail [email protected]

1.3 โครงการ โครงการบัณฑิตวิทยาลัยสูป่ ระชาคมอาเซียน (MJU-ASEAN Bridge) เพื่อ ประชุม สัมมนา ฝึกอบรม ปฏิบัตกิ ารวิจัย ดูงาน  นําเสนอหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาในกลุม่ ประเทศ ASEAN แหล่งผู้ให้ทุน เงินงบประมาณแผ่นดิน ประเทศที่ไป อินโดนิเชีย งบประมาณ 197,590.- บาท ระหว่างวันที่ 1-6 พฤษภาคม 2556 รวมระยะเวลา 6 วัน ภายใต้โครงการ/หน่วยงาน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ส่วนที่ 2 รายละเอียดของโครงการ จากนโยบายของมหาวิทยาลัยที่ต้องการพัฒนามหาวิทยาลัยสู่ มหาวิทยาลัยที่เน้นการผลิต บัณฑิตระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในระยะเวลาอันใกล้ ส่งผลให้ บัณฑิตวิทยาลัยต้องปรับตัวให้สามารถรองรับกับความเปลี่ยนแปลง การเพิ่มจํานวนนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมายเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจเร่งด่วนที่บัณฑิตวิทยาลัยต้องได้รับการ สนับ สนุนจากมหาวิท ยาลัย ซึ่งบัณ ฑิตวิท ยาลัย ได้เล็งเห็นว่าตลาดนัก ศึก ษาในประชาคมอาเซีย นมี จํานวนมากและมีช่องทางที่มหาวิทยาลัยแม่โจ้จะสามารถแทรกเข้าไปดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาได้ บัณ ฑิตวิท ยาลัย จึงเห็นควรจัด โครงการประชาสัมพันธ์หลักสูตรระดับบัณ ฑิตศึก ษาที่มีค วามพร้อ ม รองรับนักศึกษาต่างชาติ ให้กลุม่ นักศึกษาในภูมิภาคอาเซียนได้รับทราบแนวทางการจัดการศึกษาระดับ บัณ ฑิ ตศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลัย แม่ โ จ้ โดยจั ด กิจ กรรมการประชาสัม พันธ์ หลั ก สู ตรไปเผยแพร่ ตาม ประเทศต่างๆ จํานวน 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศเวียดนาม ประเทศฟิลิปปินส์ และประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งได้กําหนดแผนการเดินทางคือ ประเทศเวียดนามในเดือนพฤษภาคม 2556 ประเทศอินโดนิเชียใน เดือนมิถุนายน 2556 และประเทศฟิลปิ ปินส์ในเดือนสิงหาคม 2556 ส่วนที่ 3 ข้อมูลที่ได้รับจากการเดินทางไปต่างประเทศ ดังต่อไปนี้ 3.1 วัตถุประสงค์ 1. เพื่ อ ประชาสั ม พั น ธ์ ห ลั ก สู ต รระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษาของมหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ใ ห้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก ของ กลุม่ เป้าหมาย 2. เพื่อให้ได้นักศึกษาต่างชาติเข้ามาศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มขึน้ 3. เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ 3.2 เนือ้ หาที่เป็นสาระสําคัญในเชิงวิชาการที่สามารถนําไปใช้ประโยชน์ ในการเดินทางไปประเทศอินโดนิเซียครั้งนี้มีผู้แทนจากหลักสูตรสายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 3 คน และสายสังคมศาสตร์จํานวนอย่างละ 1 คนรวม 4 คน ได้แก่จากคณะวิทยาศาสตร์ คณะวิศวกรรม

และอุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ํา คณะพัฒนาการท่องเที่ยว และคณะผลิตกรรมการเกษตร โดยได้เข้าเยี่ยมชมและประชาสัมพันธ์หลักสูตร และบรรยายให้นักศึกษา เรื่อง “Food Supply Chain Studies in ASEAN” and “MJU-ASEAN Bridge” รวมถึงแสวงหาความ ร่วมมือทางวิชาการของมหาวิทยาลัย 4 แห่งคือ Universitas Muhammadiyah Yogyakarta, Universitas Muhammadiyah Surkarta, Universitas Jenderal Soedirmanพอสรุปผลโครงการได้ดังนี้ Date June 1, Monday June 2, Monday June 3, Monday

June 4, Tuesday

Time 19.20-20.30 8.00-11.35 14.20-15.40

Activities Chiang Mai-Bangkok Bangkok-Jarkarta Jarkarta-Yogyakarta Muhammadiyah University 09.00-12.00 Jogyakarta 13.00-16.00 - Executive Meeting - Academic promotion Muhammadiyah University 09.00-12.00 Surakarta - Executive Meeting - Academic promotion

June 4, Tuesday 13.30-16.00

June 5, Wednesday

June 6, Monday

09.00-12.00 13.00-16.00 8.00-9.15 12.35-16.05 18.40-20.00

Universitas Sebelas Maret/Faculty of Agriculture - Surakarta - Executive Meeting - Academic promotion Jenderal Soedirman University, Purwokerto - Executive Meeting - Academic promotion Yogyakarta-Jarkarta Jarkarta-Bangkok Bangkok-Chiang Mai

Contact Person

Dr.Imamuddin Yuliadi Wakil Directur [email protected] Mobile: +62816425474 Dr. Muslich Hartadi Email: [email protected] [email protected]. Mobile: +6281578300003 Prof. Bambang Pujiasmanto (Mr), Dean Email: [email protected] Mobile: +628164270208

Dr. Agus Margi Wiyatno (Mr) Email: [email protected] id Mobile: +62 81226666102

Universitas Muhammadiyah Yogyakarta (UMY) คณะเดินทางใช้เวลาในการเดินทาง 1 ชั่วโมง เมื่อไปถึงผู้อํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยและตัวแทน คณบดีคณะต่าง รวมทั้งหมด 14 คน ให้การต้อนรับ และได้เจรจาความร่วมมือ ซึ่งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนที่เน้นการศึกษาด้านอิสลามศึกษา วิศวกรรม แพทย์ พยาบาล สังคม เภสัช และ เกษตร (พึ่งเปิด) มหาวิทยาลัย Muhammadiyah Yogyakarta และเป็นมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการ สอนในระดั บ ปริ ญ ญาตรี ไ ด้ แ ก่ ด้ า นการศึ ก ษา การธุ ร กิ จ การเกษตร เทคโนโลยี ท างการเกษตร

เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์และรัฐศาสตร์ อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากนี้ยังมีการสอนในระดับปริญญาโท จํานวน 5 โปรแกรม ที่เกี่ยวกับการจัดการ และศาสนา มีการเรียนการสอนในระดับปริญญาเอกจํานวน 1 โปรแกรม และหลังจากที่ได้แลกเปลี่ยนและร่วมกันหารือด้านความร่วมมือพอสรุปแนวทางข้อตกลง ร่วมกันดังนี้ 1. ผู้อํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยของ UMY ยินดีที่จะเดินทางมาเข้าร่วมประชุมวิชาการ International Conference on Interdisciplinary Research and Development in ASEAN ระหว่างวันที่ 810 สิงหาคม 2556 2.

คณบดีคณะเกษตรของ UMY มีความสนใจที่จะสร้างความร่วมมือด้านการวิจัย การ

แลกเปลี่ยนนักวิจัยกับคณะที่เกี่ยวข้องกับด้านเกษตรของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 3.

ผู้อํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยของ UMY และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้

เห็นด้วยในการร่าง MOU และ MOA เพื่อให้เกิดภาพความร่วมมือที่ชัดเจนและเห็นผล

Universitas Muhammadiyah Surakarta (UMS) การเดินทางใช้ระยะเวลาเดินทาง 3 ชั่วโมงจากตัวเมือง Yogyakarta เป็นมหาวิทยาลัยขนาด ใหญ่มจี ํานวนนักศึกษาประมาณสองหมื่นสามพันคน และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาประมาณสี่พันคน โดยทางมหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมกําหนดการประชาสัมพันธ์แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 เป็นการ บรรยายในลักษณะบรรยายในห้องเรียน (General Lecture) ในหัวข้อเรื่อง Food Supply Chain Studies in ASEAN ให้กับคณาจารย์และนักศึกษาที่ทางมหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมไว้ ช่วงที่ 2 เป็นการประชุมของ คณะเดินทางและกลุ่มผู้บริหารมหาวิทยาลัยเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแสวงหาความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยแม่โจ้และมหาวิทยาลัย Muhammadiyah Surakarta ในภาคการบรรยาย คณะเดินทาง ได้บรรยายในหัวข้อ Food Supply Chain Studies in ASEAN และนําเสนอการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ตาม Food Supply Chain ร่วมทั้ง ตอบข้อซักถาม ซึ่งผูบ้ ริหาร ผูอ้ ํานวยการฝ่ายการต่างประเทศ เจ้าหน้าที่และนักศึกษา ให้ความสนใจเข้า รับฟังการบรรยายพิเศษ “Food Chain Study in Asian” ของคณะจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ โจ้ จํานวนประมาณ 100 คน และในจํานวนนี้มีนักเรียนไทยที่ศึกษาอยู่เข้าร่วมรับฟังด้วย UMS ประกอบ ไปด้วย 11 คณะ 44 หลักสูตร ที่เน้นการเรียนการสอนวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา สังคม และการแพทย์ และหลังจากเสร็จสิ้นการบรรยายได้มีการประชุมเจรจาของผู้บริหารและคณะ เดินทางเพื่อสร้างความร่วมมือร่วมกันระหว่างสองมหาวิทยาลัย โดยการสาระสําคัญพอสรุปได้ดังนี้ 1. UMS มีความสนใจที่จะสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ด้านวิศวกรรมการ อาหาร เนื่องจากทาง UMS เองมีศัก ยภาพด้านวิศวกรรมเครื่องกลอยู่แล้ว ในการนี้ทั้งสองฝ่ายมี ความเห็ น ตรงกั น ว่ า เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ที่ เ ป็ น รู ป ธรรมในอนาคตข้ า งหน้ า หลั ก สู ต รสหวิ ท ยา การเกษตร ที่บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้กําลังจะเปิดในปีหน้า จะเป็นเครื่องมือที่ทําให้ทั้งสอง มหาวิทยาลัยดําเนินการสร้างความร่วมมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ทั้งสองมหาวิ ท ยาลั ย มีค วามเห็น ตรงกั นที่ จะทํ าการแลกเปลี่ ย นอาจารย์ เจ้ าหน้า ที่ นัก ศึก ษา และความร่ว มมื อ งานวิจั ย ซึ่ง กัน และกั น โดยอาจจะเริ่ม จากการลงนามใน Letter of memorandum ก่อนเพื่อให้งา่ ยต่อการแลกเปลี่ยนบุคคลากร 3. ทาง UMS จะส่งเจ้าหน้าที่มาเยี่ยม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ หรืออาจเข้าร่วมการประชุม International Conference on Interdisciplinary Research and Development in ASEAN ระหว่างวันที่ 810 สิงหาคม 2556 เพื่อจะได้ทําความรูจ้ ักกันและกันมากขึน้

Universitas Sebelas Maret Surakarta (UNS) คณะเดินทางเข้าพบคณะผู้บริหารคณะเกษตร (Faculty of Agriculture) มหาวิทยาลัย Sebelas Maret Surakarta โดยมี คณบดี รองคณบดี เจ้าหน้าที่และนักศึกษาคณะเกษตร ของ UNS จํานวน 20 คนได้ร่วมให้การต้อนรับ และให้การบรรยายสรุปการดําเนินงานด้านการเรียนของคณะ เกษตร UNS และคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้บรรยายหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ทุนการศึกษา และตอบข้อซักถามด้านการศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และใน ขณะเดียวกัน ทางคณะเกษตรของ UNS มีความสนใจที่จะลงนามความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยน นักศึกษา และเจ้าหน้า รวมทัง้ ความร่วมมือด้านการวิจัย

Universitas Jenderal Soedirman (UNSOED) เป็ นมหาวิ ท ยาลัย ที่ เ น้ นด้ า นการเกษตรซึ่ ง เปิ ด มาประมาณ 50

ปี มี ค วามคล้ ายคลึง กั บ

มหาวิทยาลัยแม่โจ้เป็นอย่างมาก ทั้งนี้คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยเคยมาเยี่ยมชมมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในปี พ.ศ. 2555 ที่ผา่ นมา จึงให้การต้อนรับอย่างดีโดยได้จัดทํากําหนดการให้กับคณะเดินทางดังนี้ Time 09.30 – 10.00 10.00 – 10.05

Preparation Welcome speech

10.05 – 10.10

Speech from guest

10.10 – 10.25

Souvenir exchange Presentation about Unsoed

10.25 – 10.40 10.40 – 12.10

Agenda

Presentation about Maejo University Integrated food supply chain studies in ASEAN

Person in charge Team Rector UNSOED ~ Prof. Edy Yuwono Dean , Graduate School ~ Dr. Jatupong Varith Vice Rector 4 ~ Ir. Budi Rustomo, PhD. Thailand delegation Thailand delegation

12.10 – 13.00 13.10 – 14.00

Lunch break Group discussion

Committee Group 1 (Academic collaboration) - Dr. Jatupong Varith - Vice Rector 4 - Director of graduate school, UNSOED - Vice Director 1 of graduate school, UNSOED - Vice Director 2 of graduate school, UNSOED - Head of AIRO Group 2 (Production systems in crops, Horticulture, Animal, Fisheries) - Dr. Banyad Montienart - Dean of Biology Fac - Dean of Animal Sci Fac - Head of Agronomy Study Program (S2) - Head of Animal Sci Study Program (S2) - Head of Biology Study Program (S2) Group 3 (food processing, postharvest technology) - Dr. Preeda Nathewat - Dean of Agriculture Fac - Dean of Science and Engineering Fac - Head of Agric Eng Study Program (S1) - Head of Food Sci Study Program (S1) - Head of Integrated Lab Group 4 (Business, marketing,

14.00 – 15.00

Faculty visit

15.00 – 16.00

Academic campaign (1ST FLOOR OF Rectorate)

Note : -

Moderator at meeting 09.00 – 12.10 : Dr. Agus Margiwiyatno Coord/PiC faculty visit Group B : Dr. Romanus Edy Prabowo Coord /PiC faculty visit Group C : Dr. Condro Wibowo Coord /PiC faculty visit Group D : Dr. Sujadi Coord /PiC Academic campaign : Dr. Erwin Ardli Coord /PiC logistic : Head of Cooperation Unit

economics..etc.) - Dr. Paisarn Kanchanawong - Dean of Economics Fac - Head of Management Study Program (S2) - Head of Economics Study Program (S2) - Head of International Business Study Program (S1) - Head of Agribusiness Study Program (S1) Group B (F Bio, exFarm, Integrated Lab) Group C (Food Tech Dept, Agric Fac, Integrated Lab) Group D (Economics Fac) Group A (to follow group B, C, or D) Peserta: (+ 40 orang) - Undergraduate students - Post graduate students - Academic staffs

การเดินทางไปยังมหาวิทยาลัย Jenderal Soedirman (UNSOED) ในครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นการ เริ่มต้นของความร่วมมือกันระหว่างทั้งสองมหาวิทยาลัย เนื่องจากรองอธิการบดีของ UNSOED เคย ได้มาเยี่ยมมหาวิทยาลัยครัง้ หนึ่งแล้วเมื่อเดือนกรกฎาคม 2555 โดยมีตัวแทนจากคณะต่าง ๆ เช่น คณะ เกษตร คณะชีววิทยา คณะเศรษฐศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ จํานวน 20 คน และนักศึกษาที่สนใจศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาอีกประมาณ 25 คน อีกอย่างที่เป็นที่น่ายินดีคือทั้ง สองมหาวิทยาลัยมีพนื้ ฐานที่คล้ายคลึงกันมาก คือ การเป็นมหาวิทยาลัยด้านการเกษตรและการพัฒนา ชนบท ซึ่งจะทําให้เ กิดความร่วมมือกันได้อย่างดี ทั้งนี้เพราะอาจารย์และบุคลากรมีความสนใจที่จะ ศึก ษาต่อในระดับปริญญาโทด้านการจัด การ การบริหารธุรกิจ สาขาประมง สาขาไบโอเคมี สาขา วิศวกรรมอาหาร สาขาสหวิทยาการเกษตร ส่วนในระดับปริญญาเอกสนใจในสาขาประมง นอกจากนี้ คณะผูบ้ ริหารมีความสนใจในการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ในลักษณะอบรมหลักสูตรระยะสั้นประมาณ 1-2 เดือน หรือสหกิจศึกษาในระดับปริญญาตรี การแลกเปลี่ยนอาจารย์เพื่อสอนในสาขาต่างๆ และมีความ ร่วมมือในการทําวิจัยร่วมกัน ทําให้ในครั้งนี้ได้มีการเจรจาเพื่อให้ความร่วมมือทั้งสองฝ่ายดําเนินต่อไป พอสรุปดังนี้ 1. ก่อนที่จะมีการลงนามใน MOU หรือ MOA ทั้งสองฝ่ายน่าจะทําการลงนามแบบ G2G (Graduate 2 Graduate) เพื่อให้งา่ ยต่อการดําเนินการแลกเปลี่ยนนักศึกษาหรือบุคลากร 2. ทัง้ สองฝ่ายมีความเห็นตรงกันว่าควรศึกษาแนวโน้มในการแลกเปลี่ยนนักศึกษาในระดับ ปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาของทัง้ สองมหาวิทยาลัย 3. ทัง้ สองฝ่ายมีความเห็นตรงกันในการพัฒนาหลักสูตรในระดับบัณฑิต Dual Program 4. ควรมีการแลกเปลี่ยนนักวิจัย และเจ้าหน้าที่ระหว่างกัน ซึ่ ง แนวทางที่ ดํ า เนิ น การคื อ จั ด ให้ มี ก ารประชุ ม อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ในวั น ประชุ ม สั ม มนาวิ ช าการ นานาชาติที่บัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้จัดในเดือนสิงหาคม 2556 โดยหาความเป็นไปได้ในกิจกรรมที่จะ ดําเนินการร่วมกันเพื่อทํา MOA และ MOU ร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยแม่โจ้กับมหาวิทยาลัย

Suggest Documents