Rational Management of Vitamin D Deficiency

Rational Management of Vitamin D Deficiency พ.อ. นพ.สมชาย พัฒนอางกุล แผนกตอมไรทอ กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา ในประเทศไทยมีการตื่นตัวเกี่ยว...
19 downloads 0 Views 3MB Size
Rational Management of Vitamin D Deficiency พ.อ. นพ.สมชาย พัฒนอางกุล แผนกตอมไรทอ กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา

ในประเทศไทยมีการตื่นตัวเกี่ยวกับเรื่องไวตามินดีอยางมาก ในหมูแพทยสาขาตางๆ โดยเฉพาะแพทยสาขาโรคตอมไรทอและ เมตะบอลิสม แพทยสาขาโรคกระดูก และขอ แพทยสาขาออรโธปดกิ ส และแพทยสาขาโรคไต ผูเขียนไดรับการปรึกษา และไดรับคําถาม จากแพทยหลากหลายสาขาเกี่ยวกับแนวทางในการดูแลรักษา ผูปวยรวมทั้งการใชยาไวตามินดีอยางมากมาย จากประสบการณ ของผู เ ขี ย นมี ค วามเห็ น ว า แพทย จํ า นวนมากมี ลั ก ษณะ ตื่นตระหนกมากกวาตื่นตัวดังจะเห็นไดจากแพทยที่ไปประชุม วิชาการที่ประเทศสหรัฐอเมริกาสวนใหญมักจะซื้อไวตามินดีจาก หางสรรพสินคาครั้งละจํานวนมากทั้งๆ ที่ในประเทศไทยก็มี ไวตามินดีจําหนาย เพียงแตเปนชนิดที่ไมคุนเคยสําหรับแพทยไทย เนื่องจากชนิด และขนาดของไวตามินดีแตกตางจากไวตามินดี ที่จําหนายในสหรัฐอเมริกา และที่แนะนําใหใชในตํารา บทความนี้ จึงเขียนขึ้นโดยมีจุดประสงคเพื่อใหความรูแกแพทยที่สนใจเรื่อง การปองกัน และรักษาภาวะขาดไวตามินดีโดยเขียนในลักษณะ การตั้ ง คํ า ถามและการตอบคํ า ถามต า งๆ ที่ แ พทย ค วรจะรู เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งไวตามิ น ดี โ ดยประยุ ก ต ใ ห เ หมาะสมกั บ ผู ป ว ย และยาไวตามิ น ดี ที่ มี อ ยู ใ นประเทศไทยเพื่ อ เป น แนวทาง ในการดูแลรักษาผูป ว ยทีม่ ภี าวะพรอง และขาดไวตามินดีอยางถูกตอง และเหมาะสม

ไวตามินดี การออกแดดหรือตากแดดเปนวิธีที่ไดผลดีในการเพิ่มระดับ ไวตามินดี และไมเสียคาใชจา ย การอาบแดด (ใสแตกางเกงวายนาํ ) ในฤดูรอนเปนเวลา 15-20 นาที จะได vitamin D3 เทากับ 15,000-20,000 IU การถูกแดดบริเวณหนา แขน และขา วั น ละ 15 นาที จนผิ ว หนั ง เริ่ ม ออกสี แ ดงเล็ ก น อ ย (minimal erythema) จะได vitamin D3 ประมาณ 3000 IU1-3 มีการศึกษาในนักเลนกระดานโตคลื่นที่อยูในเกาะฮาวายพบวา การตากแดดเปนเวลา 15 ชม./ สัปดาห เปนเวลา 3 เดือนสามารถ เพิ่มระดับ serum 25(OH)D จาก 11 ng/mL เปน 71 ng/mL3 อยางไรก็ตามทางสมาคมโรคผิวหนังแหงสหรัฐอเมริกาไมแนะนํา ใหตากแดดมากเกินไปเนื่องจากถาจะใหไดไวตามินดีเพียงพอ จะมี ผ ลเสี ย คื อ ทํ า ให เ กิ ด aging skin และเพิ่ ม ความเสี่ ย ง ในการเกิดมะเร็งผิวหนังทั้ง melanoma และ non-melanoma skin cancer (basal cell carcinoma และ squamous cell carcinoma)4-6

DD

อาหารที่มีไวตามินดีสูงมีอะไรบาง อาหารที่มีไวตามินดีสูงมีหลายชนิดดังแสดงในตารางที่ 1

ควรบริโภคไวตามินดีวันละเทาใด ทําอยางไรจึงจะไดรับไวตามินดีเพียงพอ ถาเปนประชากรทัว่ ไปทีม่ สี ขุ ภาพปกติใหบริโภคไวตามินตามที่ การไดรบั ไวตามินดีใหเพียงพอทําได 3 วิธี ไดแก การออกแดดหรือ IOM แนะนําแตถา มีความเสีย่ งของ vitamin D deficiency ใหบริโภค ตากแดด การบริโภคอาหารทีม่ ไี วตามินดีสงู และการรับประทานยาเม็ด ตามเกณฑที่ Endocrine Society แนะนําดังแสดงในตารางที่ 27

ตารางที่ 1 แหลงอาหารที่มีไวตามินดี อาหารที่มีไวตามินดี

ปริมาณไวตามินดี

Salmon Fresh, wild (3.5 oz หรือ 100 g) Fresh, farmed (3.5 oz หรือ 100 g) Canned (3.5 oz หรือ 100 g) ปลา sardines กระปอง (3.5 oz หรือ 100 g) ปลา mackerel กระปอง (3.5 oz หรือ 100 g) ปลาทูนา กระปอง (3.5 oz หรือ 100 g) นํามันตับปลา (cod liver oil) 1 ชอนโตะ Shitake mushrooms (เห็ดหอม) เห็ดหอมสด (3.5 oz หรือ 100 g) เห็ดหอมแหง (3.5 oz หรือ 100 g) ไขแดง

600-1000 IU 100-250 IU 300-600 IU 300 IU 250 IU 230 IU 400-1000 IU 100 IU 1600 IU 20-50 IU

ตารางที่ 2 ปริมาณไวตามินดีที่ควรไดรับ และปริมาณสูงสุดที่แนะนําในชวงอายุตางๆ7 General Population (Institute of Medicine Recommendations) Upper Limit RDA (IU/day) (IU/day)

DD Age

Infants and children 0-6 months 6-12 months 1-3 years 4-8 years 9-18 years Adults 19-70 years >70 years Pregnant or breast-feeding 14-18 years 19-50 years

At Risk of Vitamin D Deficiency (The Endocrine Society Suggestions) Daily Recommendation Upper Limit (IU/day) (IU/day)

600 600 600

1,000 1,500 2,500 3,000 4,000

400-1,000 400-1,000 600-1,000 600-1,000 600-1,000

2,000 2,000 4,000 4,000 4,000

600 800

4,000 4,000

1,500-2,000 1,500-2,000

10,000 10,000

600 600

4,000 4,000

1,500-2,000 1,500-2,000

10,000 10,000

IU = International Units

มีภาวะใดที่มีความตองการไวตามินมากขึ้น ภาวะที่มีความตองการไวตามินมากขึ้น ไดแก คนอวน (BMI >30 kg/m2) คนที่ผิวคลํา ผูสูงอายุ ผูที่ใชยากันแดด และผู ที่ รั บ ประทานยาชนิ ด ต า งๆ ดั ง แสดงในตารางที่ 3 คนอ ว นจะมี ไ วตามิ น ดี ส ะสมอยู ที่ ไ ขมั น มากทํ า ให ร ะดั บ serum 25(OH)D ลดลง 5 คนที่ มี ผิ ว คลํ า จะมี ก ารสั ง เคราะห ไ วตามิ น ดี ที่ ผิ ว หนั ง ลดลง เช น เดี ย วกั บ ผู สู ง อายุ

และผู ที่ ใ ช ย ากั น แดด sunscreen ลดการสร า งไวตามิ น ลงเกื อ บ 100% 8,9 มี ย าหลายชนิ ด ที่ เ พิ่ ม metabolism ของไวตามิน หรือลดการดูดซึมของไวตามินดีทางลําไสดังแสดงในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ยาชนิดตางๆ ที่เพิ่ม metabolism และลดการดูดซึมของไวตามินดี Medication Anticonvulsants: (phenytoin, carbamazepine, Phenobarbital)

Effect Induce hepatic p450 enzymes to accelerate the catabolism of vitamin catabolism of vitamin D Metabolized by hepatic p450 enzymes, can accelerate the Thiazide diuretics catabolism of vitamin D Corticosteroids Metabolized by hepatic p450 enzymes, can accelerate the catabolism of vitamin D Nicotine Metabolized by hepatic p450 enzymes, can accelerate the catabolism of vitamin D Cholesterol-lowering medications: (Cholestyramine, colestipol, By blocking the absorption of lipids in the intestines, these ezetimibe) medications also block the absorption of vitamin D and other fat-soluble vitamins Metabolized by hepatic p450 enzymes, can accelerate the Cimetidine catabolism of vitamin D Metabolized by hepatic p450 enzymes, can accelerate the Heparin catabolism of vitamin D Diet agents (xenical, Alli) While blocking the absorption of fat in the intestines, this medication also blocks the intestines, this medication also blocks the absorption of vitamin D and other fat-soluble vitamins

DD

คนหนุมสาวที่ไมมีโรคประจําตัวควรตรวจหาระดับไวตามินดีหรือไม ไมควรตรวจระดับไวตามินดีในคนหนุมสาวที่มีสุขภาพดี ควรตรวจเฉพาะผูที่มีโรค หรืออาการที่บงชี้วานาจะมีไวตามินดีตํา เทานั้น คนหนุมสาวที่ไมมีโรคประจําตัวควรจําเปนตองรับประทานยาไวตามินดีหรือไม ไมจําเปนถาหากรับประทานอาหารที่มีไวตามินสูง เชน ปลาทะเล และเห็ดหอมเปนประจํา รวมกับการถูกแดดบาง สั ป ดาห ล ะ 2-3 ครั้ ง ก็ จ ะได รั บ ไวตามิ น ดี เ พี ย งพอ แต ถ า ไม ค อ ยได รั บ ประทานปลาทะเล หรื อ เห็ ด หอมรวมทั้ ง อยู แตในที่รมไมไดถูกแดดอาจรับประทานไวตามินรวมวันละ 1 เม็ด เพิ่มเติมจากอาหารก็เพียงพอ

Vitamin D2 และ vitamin D3 ตางกันอยางไร Vitamin D2 เปนไวตามินทีส่ งั เคราะหจากพืช สวน vitamin D3 เปนไวตามินดีทสี่ งั เคราะหจากสัตว ขอแตกตางระหวางไวตามินทัง้ 2 ชนิด สรุปไดดังแสดงในตารางที่ 4 ตารางที่ 4 เปรียบเทียบขอแตกตางระหวางไวตามินดีทั้ง 2 ชนิด คุณสมบัติ แหลงของไวตามิน ชื่อเคมี โครงสราง

Vitamin D2

Vitamin D3

จากพืช จากสัตว Ergocalciferol Cholecalciferol มี 27 carbons มี 28 carbons มี methyl group และ double bond ระหวาง carbon ตัวที่ 22 และ 23 การจับกับ vitamin D receptor Lower affinity Higher affinity Duration of action นานกวา มี clearance ชากวา สั้นกวาเนื่องจาก มี clearance เร็วกวา Potency Less potent More potent

DD

Vitamin D2 (ergocalciferol) และ vitamin D3 (cholecalciferol) มีประสิทธิภาพเทากันหรือไม การศึกษาสวนใหญพบวา vitamin D3 มีประสิทธิภาพดีกวา vitamin D2 (ergocalciferol) มาก10-12 มีเพียงการศึกษาเดียวทีพ่ บวาไวตามินดี ทัง้ 2 ชนิดมีประสิทธิภาพเทากัน13 การให vitamin D2 (ergocalciferol) และ vitamin D3 (cholecalciferol) จะเพิม่ ระดับ serum 25(OH)D ขึ้นมาเทากัน13 แตระดับ vitamin D2 (ergocalciferol) จะลดลงเร็วกวา ดังนั้นถาใหยาแบบรับประทานทุกวันจะมีประสิทธิภาพไมตางกัน แตถาใหแบบขนาดยาสูงๆ เชน 50,000 IU ทุกสัปดาห การให vitamin D2 (ergocalciferol) จะมีประสิทธิภาพดอยกวา vitamin D3 (cholecalciferol) เนื่องจากมี half-life สั้นกวา ระดับ serum 25(OH)D จะลดลงเร็วกวาการให vitamin D3 (cholecalciferol) 10-12 ควรใชยา calcitriol และ alphacalcidiol สําหรับการรักษาภาวะพรอง และขาดไวตามินดีหรือไม เพราะเหตุใด ไมควรใชยา calcitriol และ alphacalcidiol สําหรับ vitamin D supplement เนื่องจากยาทั้ง 2 ชนิดเปน active hormone มี potency สูงกวา vitamin D ปกติเปนพันเทา มี therapeutic range ที่แคบ ปรับขนาดยาไดยาก และทําใหเกิด hypercalcemia ไดงาย โดยเฉพาะอยางยิ่งถาใหรวมกับยาเม็ดแคลเซียม ยาทั้ง 2 ชนิดนี้จะใชเฉพาะผูปวยที่มีปญหา hypocalcemia, hypoparathyroidism หรือมี chronic kidney disease stage 4 หรือ 5 เทานั้น ยาที่มีไวตามินดีในประเทศไทยมีอะไรบาง ยาเม็ดไวตามินดี มีหลายชนิด ไดแก ยาทีม่ ไี วตามินดีเพียงอยางเดียว และยาทีม่ ไี วตามินดีผสมอยูก บั ยาชนิดอืน่ ๆ ไดแก ไวตามินรวม ยาแคลเซียมผสมไวตามินดี และยา bisphosphonate ผสมไวตามินดี

ยาที่มีไวตามินดีอยางเดียว ไดแก vitamin D2 (Calciferol BDR 20,000 IU/capsule) และยาที่เปน active vitamin D ไดแก calcitriol (RocaltrolR, Calcit SGR 0.25 mcg/capsule) และ alphacalcidiol (One alphaR, Medi-R 0.25 mcg และ 1 mcg/capsule, Bon oneR 0.25 mcg และ 0.5 mcg/capsule) ไวตามินรวมประกอบดวย vitamin D2 หรือ vitamin D3 และไวตามินชนิดอื่นๆ มีขนาดไวตามิน 200-400 IU/เม็ด ยาเม็ดแคลเซียมที่มีไวตามินดีผสมอยูมีมากมายหลายชนิด ขนาดของไวตามินที่ผสมจะแตกตางกันไปตั้งแต 125-400 IU/เม็ด ยารักษาโรคกระดูกพรุนบางชนิดที่มีไวตามินรวมอยูมีเพียงชนิดคือ alendronate sodium 70 mg + cholecalciferol 2,800 IU ใชสําหรับรักษาโรคกระดูกพรุน จงบอกแนวทางในการปองกันภาวะพรองไวตามินดี และการรักษาผูปวยที่มี vitamin D deficiency แนวทางในการปองกันภาวะพรองไวตามินดี และการรักษาผูปวยที่มี vitamin D deficiency สรุปไดดังแสดงในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 แนวทางการปองกันภาวะการพรองไวตามินดี และการรักษาผูปวยที่ขาดไวตามินดี ประเภทของประชากรหรือผูปวย

DD วิธีการบริโภคไวตามินดีใหเพียงพอ

ไมจําเปนตองรับประทานยา ควรเลือกรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงให สมําเสมอ และรับแสงแดดบางสัปดาหละ 2 ครั้ง ควรเลือกรับประทานอาหารทีม่ แี คลเซียมสูง และรับประทานไวตามินรวมวันละ ผูสูงอายุที่มีสุขภาพดี 1-2 เม็ด ควรเลือกรับประทานอาหารทีม่ แี คลเซียมสูง และรับประทานไวตามินรวมวันละ ผูปวยโรคกระดูกพรุน 2 เม็ด Vitamin D insufficiency (serum 25(OH)D 20-30 ng/mL) ควรเลือกรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง และรับประทานไวตามินรวม เพิ่มวันละ 3 เม็ด หรือรับประทานยา vitamin D2 (20,000 IU) เดือนละ 2 เม็ด (รับประทานยา 1 เม็ดทุกวันที่ 1 และ 15 ของเดือน) ควรเลือกรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูงให vitamin D2 (20,000 IU) Vitamin D deficiency (serum 25(OH)D< 20 ng/mL) สัปดาหละ 2-3 เม็ด เปนเวลา 2-3 เดือน หลังจากนั้นลดเหลือ 1 เม็ด ทุก 10 วัน (รับประทานยา 1 เม็ด ทุกวันที่ 1, 10 และ 30 ของเดือน) วัยรุน และหนุมสาวที่มีสุขภาพดี

มีหลักการสั่งยาไวตามินอยางไรจึงจะเพิ่มระดับ serum 25(OH)D ขึ้นมาถึงระดับที่ตองการ มีหลักงายๆ ดังนี้ การรับประทานยาไวตามินดีวันละ 1,000 IU ติดตอกันเปนเวลานาน 4 เดือน จะเพิ่มระดับ serum 25(OH)D ขึน้ มา 10 ng/mL ดังนัน้ ถาผูป ว ยมีระดับ 25(OH)D 12 ng/mL ถาตองการเพิม่ 25(OH)D ขึน้ มาใหไมตาํ กวา 30 ng/mL จะตองรับประทานไวตามินดี วันละ 2,000 IU ติดตอกันเปนเวลานาน 4 เดือน แตถามีระดับ 25(OH)D เริ่มตนที่ 22 ng/mL รับประทานไวตามินดี วันละ 1,000 IU

ก็เพียงพอ อยางไรก็ตามในผูปวยที่อวนมากหรือไดยาตางๆ อาการของภาวะ vitamin D toxicity เป น อย า งไร ที่ ทํ า ให มี ค วามต อ งการไวตามิ น ดี เ พิ่ ม ขึ้ น ตามตารางที่ 5 และจะใหการรักษาอยางไร อาจตองการไวตามินดีเพิ่มขึ้น 2-3 เทา Vitamin D toxicity เปนกลุมอาการที่ประกอบดวยการมี ไวตามินดีในเลือดสูงมาก (hypervitaminosis D) รวมกับมีอาการ ของ hypercalcemia ไดแก อาการซึม ปสสาวะบอย และทองผูก จะติดตาม และประเมินผลการรักษาอยางไร เนื่องจาก half-life ของ 25-(OH)D เทากับ 15-20 วัน การตรวจเลือดจะพบวามี hypercalcemia รวมกับ hyperphosจึงตองใชเวลานาน 3-4 เดือน กวาระดับ serum 25-(OH)D phatemia มักพบในผูปวยที่รับประทานยาไวตามินดีขนาดสูงมาก จะขึ้นมาเปนปกติ ผูปวยที่มี severe vitamin D deficiency กวา 10,000 IU/วัน รวมกับแคลเซียมขนาดสูงติดตอกันระยะยาว อาจใชเวลานานกวานี้ ดังนัน้ จึงไมควรตรวจ serum 25-(OH)D เร็วกวา ผูปวยมักมี serum 25(OH)D สูงกวา 100 ng/mL โดยทั่วไปจะพบ 3 เดือนภายหลังการรักษา อยางไรก็ตามถาใหยาขนาดสูงมาก เชน เฉพาะผูปวยที่รับประทาน active vitamin D ไดแก 1,25(OH)2D มากกวา 50,000 IU จะเพิ่มระดับ serum 25(OH)D ขึ้นไดภายใน และ alphacalcidol หรือ vitamin D ขนาดหลายหมื่น units รวม 1 เดือน กับยาเม็ดแคลเซียมติดตอกันทุกวัน ผูปวยที่ใหไวตามินดีในขนาด supplement dose (6001,500 IU) ไมจําเปนตองตรวจ serum 25(OH)D แตถาใหเพื่อรักษา สรุป การปองกันการขาดไวตามินดีในคนหนุมสาวที่มี moderate หรือ severe vitamin D deficiency ควรตรวจ สุขภาพดีควรเนนทีก่ ารรับประทานอาหารทีไ่ วตามินดีอยางสมาํ เสมอ serum 25(OH)D ซํ า ภายหลั ง การให ก ารรั ก ษา 3 เดื อ น และไดรบั แสงแดดบาง หนุม สาวทีม่ สี ขุ ภาพดีไมจาํ เปนตองรับประทาน และตรวจซําอีกครั้ง 3-6 เดือนภายหลังการลดขนาดยาเปน ยาเม็ดไวตามินดี แตอาจรับประทานไวตามินดีเพิม่ เติมวันละ 1-2 เม็ด supplement dose เพื่อประเมินวาขนาดยาที่ใหเปน supplement ในผู ที่ มี ภ าวะที่ เ สี่ ย งต อ การขาดไวตามิ น ดี ในผู สู ง อายุ มี ความตองการไวตามินดีมากขึ้นนอกจากนี้ผูสูงอายุสวนใหญยัง dose นั้นเพียงพอหรือไม รับประทานไวตามินดีจากอาหารไมเพียงพอ จึงควรใหยาไวตามินเสริม การใหไวตามินดีในระยะยาวมีผลเสียหรือไมอยางไร สวนการรักษาผูที่ขาดไวตามินดีมีความจําเปนตองรับประทานยา การใหไวตามินดีในขนาด supplement ไมเกิน 4,000 IU/วัน ไวตามินดีขนาดสูงในระยะ 2-3 เดือนแรก หลังจากนัน้ ใหลดขนาดลง ไมมผี ลเสียในระยะยาว Vitamin D toxicity จะเกิดขึน้ ก็ตอ เมือ่ รับประทาน ทั้ง vitamin D2 และ vitamin D3 มีประสิทธิภาพในการปองกัน ไวตามินในขนาดสูงกวา 10,000 IU/วัน ติดตอกันเปนเวลานาน และรักษาภาวะการขาดไวตามินดีเชนเดียวกัน ดังนัน้ ถารับประทานไวตามินในขนาด supplement ไมมคี วามจําเปน ตองตรวจระดับแคลเซียม และฟอสฟอรัสในเลือด และ serum creatinine แตอยางใด

DD

References 1. Holick MF: Vitamin D new horizons for the 21st Century. Am J Clin Nutr 1994;60:619-30. 2. HolickMF, Matsouka LY, Wortsman J, Age, vitamin D, and solar Ultraviolet. Lancet ii 1989:1104–5. 3. Holick MF. Vitamin D: the underappreciated D-lightful hormone that is important for skeletal and cellular health, Curr. Opin.Endocrinol. Diabetes 2002;9:87–98. 4. Robinson JK, Amonette R, Wyatt SW, et al. Executive summary of the national “sun safety: protecting our future”, in: Proceedings of the Conference on American Academy of Dermatology and Centers for Disease Control and Prevention, New York, NY, 1–2 May 1997, J. Am. Acad. Dermatol. 1998;38:774–80. 5. Gilchrest BA. Sun protection and Vitamin D: Three dimensions of obfuscation. Journal of Steroid Biochemistry & Molecular Biology 2007;103:655–63. 6. Sivamani RK, Crane LA, Dellavalle RP. The Benefits and Risks of Ultraviolet Tanning and Its Alternatives: The Role of Prudent Sun Exposure. Dermatol Clin 2009;27:149–54. 7. Holick MF, Gordon CM. The Hormone Foundation: Patient Guide to Vitamin D Deficiency. J Clin Endocrinol Metab 2011;96:1-2. 8. acLaughlin J, Holick MF. Aging decreases the capacity of human skin to produce vitamin D3. J. Clin. Invest 1985;76:1536–8.2 9. Holick MF. High prevalence of vitamin D inadequacy and implications for health. Mayo Clin Proc 2006;81:353-73. 10. Armas LAG, Hollis BW, Heaney RP. Vitamin D2 is much less effective than vitamin D3 in humans. J Clin Endocrinol Metab 2004;89:5387–91. 11. Binkley N, Gemar D, Woods A, et al. Effect of vitamin D2 or vitamin D3 supplementation on serum 25OHD. J Bone Miner Res 2008;23(Suppl 1):S350. 12. Trang HM, Cole DEC, Rubin LA, et al. Evidence that vitamin D3 increases serum 25-hydroxyvitamin D more efficiently than does vitamin D2. Am J Clin Nutr 1998;68:854–8. 13. Holick MF, Biancuzzo RM, Chen TC, et al. Vitamin D2 is as effective as vitamin D3 in maintaining circulating concentrations of 25-hydroxyvitamin D. J Clin Endocrinol Metab 2008;93:677–81.

DD

DD

Suggest Documents